ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ปัญหาการปลูกกล้วยไม้

ปัญหาการปลูกกล้วยไม้

ปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งซึ่งแฝงเป็นเงื่อนไขอยู่ในพื้นฐานสังคมลักษณะนี้คือ ทุกเรื่องที่ได้รับผลดีจากการพัฒนามีเหตุมีผลผูกพันอยู่กับตัวบุคคล ทำให้ขาดการสืบทอดสู่คนรุ่นหลังซึ่งควรเป็นไปอย่างมีเหตุมีผล แต่จะมีผู้ตามเป็นส่วนใหญ่
ผลกระทบจากปัญหาที่ได้กล่าวไว้แล้วมีผลทำให้ ศ.ระพี สาคริกเกิดแรงดลใจลุกขึ้นมาพัฒนา ค้นคว้า วิจัย เรื่องกล้วยไม้ที่เชื่อมโยงถึงงานส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ ซึ่งในที่สุดได้ทำให้เกิดสภาพที่กล่าวกันว่า ผสมผสานกันเป็นธรรมชาติ ได้เริ่มตันมีการวางแผนและดำเนินการโดยมีเป้าหมายอย่างเด่นชัด หลังจากปี พ.ศ. 2490 ซึ่งศอ.ระพี สาคริกในตอนนั้นได้ผ่านการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ออกมาแล้ว

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

กล้วยไม้สกุลแคทรียา

คัทลียา                           :             Cattleya                                            ชื่อวิทยาศาสตร์            :             Cattleya hybrids.                                       วงค์                              :             ORCHIDACEAE                                       ชื่ออื่น                            :             ราชินีกล้วยไม้           สกุลแคทลยา  (cattleya)           เป็นกล้วยไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในแถบอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ชื่อกล้วยไม้สกุลแคทลียาได้มาจากชื่อสกุลของนักพฤกษศาสตร์ชื่อ william cattley แคทลียาเป็นกล้วยไม้ที่ชอบขึ้นอยู่ในที่ชุ่มชื้น ร่มเย็น มีแสงแดดบ้างเล็กน้อยหรือที่เรียกว่าแสงแดดรำไร แต่ไม่ทนต่อความแห้งแล้ง ร้อนและแสงแดดจัด แคทลียาเป็นกล้วยไม้ประเภทแตกกอ มีระบบรากเป็นแบบรากกึ่งอากาศ บางชนิดลำลูกกล้วยอ้วนป้อม หัวท้ายเรียว บางชนิดเป็นรูปทรงกระบอกหรืบิดเป็นเกลียวเล็กน้อย ใบส่วนมากจะมีลักษณะแบน แต่มีบางชนิดใบกลมรูปทรงกระกอก ใบที่เจริญเต็มที่จะมีลักษณะหนาและแข็ง ใบอาจมีหรือไม่มีกาบ เหง้าอาจจะมีทั้งสั้นและยาว รากของแคทลียาไม่มีรากแขนง ดอกเกิดที่ป

กล้วยไม้สกุลกุหลาบ

กุหลาบอินทจักร (Aerides flabellata) ลักษณะใบเรียงตัวซ้อนกันค่อนข้างแน่น แผ่นใบหนาและเหนียว ผิวใบแห้ง กุหลาบอินทจักรเป็นเอื้องกุหลาบช่อตั้ง ดอกในช่อโปร่ง มีเดืือยดอกยาวเห็นได้ชัดและโค้งงอนสวยงาม กลีบเลี้ยง และกลีบดอกมีสีเขียวอมเหลืองและมีแต้มสีน้ำตาลอมม่วง ออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงพฤษภาคม กุหลาบพวงชมพู (Aerides krabiensis) หรือกุหลาบกระบี่ พบครั้งแรกที่จังหวัดกระบี่และจังหวัดใกล้เคียง รวมไปถึงเกาะต่างๆ ทางภาคใต้ของไทย ต้นค่อนข้างผอมมักแตกเป็นกอ แผ่นใบเล็กค่อนข้างหนาและเรียงซ้อนกันถี่ ผิวใบมักจะมีจุดประสีม่วงแดง ช่อปลายปากกว้างมน ดอกมีพื้นขาว มีจุดประสีม่วงแดง หรือชมพูเข้ม กลางแผ่นปากมีสีแดงเข้มคล้ายกุหลาบมาลัยแดง ออกดอกระหว่างเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม กุหลาบเอราวัณหรือกุหลาบน่าน (Aerides rosea ชื่อพ้อง Aerides fieldingii) ลักษณะดอกคล้ายมาลัยแดงมาก ช่อดอกมีก้านส่งแข็ง แต่ส่วนช่อที่ติดดอกจะโค้งห้อยลง กลีบดอกสีขาว มีแต้มสีม่วงแดง ที่ปลายกลีบมีจุดสีม่วงแดงประปราย ปากสีม่วงแดง ออกดอกในช่วงเดือนมีนาคมถึงมิถุนายน กุหลาบแดง (Aerides crassifolia) เป็นกล้วยไม้ที่มีลักษณะสวยงาม มีใบสั้นแบนแต่หนา

สกุลกล้วยไม้

ในประเทศไทย นอกจากกล้วยไม้ชนิดพันธุ์ตามที่พบในธรรมชาติอย่างมากมายแล้ว ยังมีพันธุ์ที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์ใหม่ มีความแปลก สวยงามเพิ่มขึ้นอีก ซึ่งพันธุ์ที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์ใหม่นี้ จะมีจำนวนมาก และไม่มีขีดจำกัด ทำให้กล้วยไม้ของไทยเป็นที่รู้จัก เป็นที่สนใจ และชื่นชอบต่อคนทั่วไป กล้วยไม้สกุลต่างๆ ที่พบในประเทศไทยได้แก่ สกุลอะแคมเป ( Acampe ) [1] สกุลกุหลาบ  ( Aerides ) สกุลแมลงปอ ( Arachnis ) [1] สกุลเข็ม  ( Ascocentrum ) สกุลสิงโตกลอกตา  ( Bulbophyllum ) สกุลเอื้องน้ำต้น หรือคาแลนเธ ( Calanthe ) สกุลคัทลียา  ( Cattleya & allied genera ) ประกอบด้วยสกุลย่อย 8 สกุลคือ บราสซาโวลา ( Brassavola ) บรอว์กโทเนีย ( Broughtonia ) คัทลียา ( Cattleya ) ไดอาคริอัม ( Diacrium ) อีปิเดนดรัม ( Epidendrum ) ลีเลีย ( Laelia ) ซอมเบอร์เกีย ( Schomburgkia ) โซโพรนิติส ( Sophronitis ) สกุลเอื้องใบหมาก หรือซีโลจิเน ( Coelogyne ) สกุลกะเรกะร่อน หรือซิมบิเดียม ( Cymbidlium ) สกุลหวาย  ( Dendrobium ) สกุลม้าวิ่ง  ( Doritis ) สกุลเพชรหึง หรือแกรมมาโตฟิลลัม ( Grammatophyllum ) สกุลลิ้นมังกร หรือฮาบีนาเรีย